Uncategorized

Goal Setting : STRETCH and SMART PART 4

น่าจะตอนสุดท้ายแล้วนะ

มีการทดลองที่น่าสนใจของ University of Waterloo, Melbourne แสดงไว้ว่า Stretch goal สามารถที่จะเป็นตัวจุดประกายความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมได้ แต่เฉพาะกับคนที่มีระบความคิดที่สามารถแตกมันลงไปส่ง concrete plan เท่านั้น

ส่งเหล่านี้เราพบเห็นได้ในแต่ละวันยกตัวอย่างเช่น  “To-do lists” ไอ้เจ้า “To-do list” คือเครื่องมือที่ดีหากเราใช้มันอย่างถูกต้อง (กล่าวโดย Timothy Pychyl นักจิตวิทยาจาก Carleton University) แต่ถ้าพวกเราชอบพูดกันว่า บางครั้งฉันก็เขียนอะไรง่ายๆ เพื่อที่จะสามารถทำมันเสร็จแล้วก็ขีดฆ่าเพราะมันจะทำให้เรารู้สึกดี … นั่นเป็นการใช้ to-do ในทางที่ผิด เพราะคุณใช้มันเพื่อแก้ไขอารมณ์ของคุณไม่ได้เพื่อ productive

ปัญหาของ to-do list เมื่อเราขียนรายการสั้นเยอะเยอะแยะมันส่งผลให้สมองของเรายึดติดและสนใจว่าเราต้องส่งมอบอะไรนั่นทำให้เราใช้เวลาเป็นชั่วโมงในการตอบเมล์ที่ไม่สำคัญแทนที่จะคิดและบันทึกอะไรใหญ่ๆ ที่มีความหมาย เพียงเพื่อทำให้เรารู้สึกพึงพอใจว่าเราสามารถเคลียร์มันได้จากกล่องแล้ว

จะเห็นว่า เรากำหนด stretch goal ดีๆ อย่างเดียวก็ไม่ได้ หรือจะ to-do list เล็กๆ ก็ไม่ได้ ทางออกของมันก็คือคือ เราควรจะจับคู่ STRETCH goal กับ SMART goal ซะ

ตัวอย่างคือ

ฝันใหญ่และ STRETCH อธิบายเป้าหมายที่ดูว่าไม่มีทางจะเป็นไปได้เช่น ตั้งบริษัทใหม่ หรือ วิ่งมาราธอน เลือกเป้าหมายแล้วแตกมันออกเป็นเป้าหมายสั้นๆ และเป็นรูปธรรม (short-term และ concrete step) ถามตัวเองว่า
What realistic progress can you make in the next day, week, month?
How many miles can you realistically run tomorrow and over  the next three weeks?
What are the specific,short-term step along the path to bigger success?
What timeline makes senses?
Will you open your store in six months or a year?

ในทางจิตวิทยาความพยายามเล็กๆพวกนี้เราเรียกว่า “proximal goals” และจากการศึกษาพบว่าหากเราสามารถแตกความมุ่งมั่นขนาดใหญ่ออกมาเป็น proximal goal จะทำให้ประสบความสำเร็จได้มากกว่า

ดูตัวอย่างนะ

What is your stretch goal?   A:  To run a marathon
What is a specific sub-goal?  A: Run seven miles without stopping
How will you measure success? A: Twice around the park, no walking
Is this achievable? A: Yes, If I run three times a week
Is this realistic? A: Yes, If I wake up early on Mondays, Wednesdays, and Fridays
What is your timeline? A: Run three miles this week, Four miles next week, Five miles….

ตอนที่ Pychyl เขียน to-do list เขาจะเขียน Stretch goal ไว้บนหัวกระดาษ และแตกงานย่อยเป็นงานเล็กๆ เขาจะรู้ว่างานต่อไปต้องทำอะไร แต่เขาก็จะเตือนตัวเองอยู่ตลอดว่าเป้าหมายใหญ่เขาคืออะไร

เราต้อง STRETCH และ SMART goals มันไม่เกี่ยวว่าคุณจะเรียกว่าอะไร มันไม่สำคัญว่า proximal จะเป็น SMART ไหม มันสำคัญว่าคุณมีเป้าหมายใหญ่ที่คุณจะทำไหมและคุณมีระบบความคิดที่สามารถแตกมันออกมาเป็นเป้าหมายเล็กๆ อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นจริงได้ไหม 


 

23 วันหลังจากการสู้รบรัฐสภาอิสราเอลได้จัดตั้งคณะกรรมการสอบสวน หน่วยงานข่าวกรองได้รับรายงานหลายครั้งเกี่ยวกับการโจมตีแต่ Zeira และเพื่อนร่วมงานของเขาต่างละเลยสัญญาณอัตรายที่ประจักษ์อยู่ตรงหน้า ไม่ใช่เพราะพวกเขาทำตามหัวหน้าสั่งแต่เพราะ Zeira และ ทีมของเขามีเป้าหมายที่ชัดเจนว่าจะไม่สร้างความตระหนกตกใจที่ไม่จำเป็น โดยที่ละเลยส่วนที่สำคัญที่สุดไปคือ “ทำให้อิสราเอลปลอดภัย”

ข้อเท็จริงแล้ว Zeira ใช้ทุกอย่าง ทั้ง Stretch และ SMART เขาชัดเจนว่าเขาต้องการลดความน่ารำคาญของการเตือนการโจมตีและลดความขัดแย้งที่ต้องมาคาดเดาและวิเคราะห์อีกครั้งว่าเป็นการโจมตีจริงๆ หรือเปล่า เรามีความมุ่งมั่นใหญ่หลวงและก็สามารถแตกมันออกมาเป็น proximal goal ที่ specific, measurable, achievable ,realistic และ เกิดขึ้นบน timeline ที่กำหนด เขาสามาถทำให้หน่วยงานของเขาส่งมอบข้อมูลสำคัญอย่างเป็นขั้นเป็นตอน

ตัวอย่างของ Zeira ชัด เจนว่าการมีแค่ Stretch และ SMART บางครั้งไม่เพียงพอ เราต้องวิเคราะห์วันต่อวันว่าสิ่งที่เรากำลังเดินไปสู่เป้าหมายมัน make sense ไหม

ตุลาคม 2013  Zeira อายุประมาณ 85 ปีได้รับเชิญให้ไปมอบทุนการศึกษา และมีพวกอดีตนักศึกษาเริ่มก่อกวนเขา “คุณพวกนักสร้างนิยาย” “คุณมันจอมโกหก”

Zeira บอกว่า นี่ไม่ใช่ศาลทหารนะ สงครามที่เกิดขึ้นไม่ใช่ความผิดเขาคนเดียว

“ปกติผมจะมี note เล็กๆ ติดอยู่ในกระเป๋า” เขาบอกผู้ฟัง มันเขียนว่า “and if not?” แต่ว่าวันก่อนเกิด Yom Kippur War “ผมไม่ได้อ่าน note อันนั้น” … “นั่นคือความผิดผม”

 

Leave a comment